23 ภาพเหล่าสัตว์ที่ใช้ในสงคราม อีกหนึ่งพลังที่นำชัยชนะแห่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

มนุษย์เราใช้สัตว์ในการทำสงครามมาตั้งแต่สมัยก่อน โชคดีที่ในปัจจุบันจะมีเทคโนโลยีมากมายเข้ามาทดแทนสัตว์เหล่านั้น แต่บางครั้งเราก็ยังได้เห็นสัตว์บางอย่างในสงครามอยู่เป็นบางครั้งบางคราวอยู่ดี

 

 

ว่ากันว่าจุดเปลี่ยนของการใช้สัตว์ในสงครามอยู่ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เพราะนั่นเป็นสงครามใหญ่โตครั้งสุดท้ายที่เรายังพอเห็นการใช้สรรพสัตว์จำนวนมากในสงคราม ก่อนจะถูกแทนที่ด้วยเครื่องจักรนานาชนิด

ดังนั้นในวันนี้ #เหมียวศรัทธา จะพาเพื่อนๆ ไปชม 23 ภาพเหล่าสรรพสัตว์แห่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งกัน ไปชมกันดีกว่าว่าในสงครามครั้งนี้มีสัตว์ประเภทไหนบ้างที่มีบทบาทในการนำมาซึ่งชัยชนะของเหล่าทหาร

 

นี่คือภาพของทหารเยอรมัน ที่ปล่อยสุนัขส่งข้อความ หลังจากมีการโจมตีด้วยแก๊สในปี 1918

 

ม้าศึกของเยอรมันที่แบกปืนกล Maxim M1910 ที่ยึดมาจากทางโซเวียตเอาไว้

 

สุนัขพยาบาลของอังกฤษนำผ้าพันแผลมาส่งให้ทหารในช่วงปี 1915

 

นกพิราบที่มีกล้องขนาดเล็กติดตั้งไว้ของเยอรมัน

 

การขนย้ายล่อลงจากเรือในเมืองอเล็กซานเดรียประเทศอียิปต์เมื่อปี 1915

 

สิบเอก Stubby สุนัขที่มีการติดยศมากที่สุดในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

 

สมาชิกหน่วยทหารม้าของอังกฤษ กับการปล่อยม้าพักผ่อนในฝรั่งเศส

 

หน่วยพยาบาลเยอรมันหลังถูกถล่มด้วยปืนใหญ่ในเดือน พฤษภาคม 1918

 

หน่วยพยาบาลเสี้ยววงเดือนแดง (คล้ายๆ หน่วยพยาบาลกาชาด) กับพาหนะคู่กาย 1916

 

ทหารประจำโรงพยาบาลกับหมีโคอาล่าใน ไคโร 1915

 

การออกกำลังกายของหน่วยทหารม้าตุรกี มีนาคม 1917

 

สุนัขส่งสารกับการวางสายไฟด้วยชุดพิเศษในเดือนกันยายน 1917

 

ช้างอินเดียจากสวนสัตว์ถูกใช้งานโดยทหารเยอรมันเพื่อให้ช่วยลากซุง 1915

 

การเคลื่อนพลด้วยรถม้า รถยนต์ และการเดินเท้า

 

นกพิราบสื่อสารที่ทำหน้าที่ได้สำเร็จ

 

ทหารเบลเยี่ยมขนย้ายกรงนกพิราบสื่อสาร

 

นายทหารที่กำลังจะเดินทางด้วยมอเตอร์ไซค์โดยแบกกรงนกพิราบเอาไว้

 

การติดข้อความไว้ที่ขานกพิราบของทหารอังกฤษในแนวรบด้านตะวันตกเมื่อปี 1917

 

ม้าสงครามที่คู่หูเพิ่งจะตายจากไปในปี 1916

 

เจ้าแมวน้อยโผล่หน้ามาจากกระบอกปืนของเรือ HMAS Encounter

 

กองทหารม้าของญี่ปุ่นในเดือนธันวาคม 1914

 

สุนัขลากเกวียนของชาวบ้านชาวเบลเยียมในปี 1914

 

และการขี่อูฐไปออกศึกของหน่วยทหารอูฐชาวออสเตรเลียในปี 1917

 

ที่มา rarehistoricalphotos

Comments

Leave a Reply